วันอาทิตย์ที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2557

การแก้โจทย์ปัญหาเต็มกระดาน

นางสาวพรสุดา พลายทิพย์ 5411103016

การแก้โจทย์ปัญหาของสมการที่มีตัวแปร

นางสาวพรสุดา พลายทิพย์ 5411103016

การแก้โจทย์ปัญหา

นางสาวพรสุดา พลายทิพย์ 5411103016

การสร้างรูปสี่เหลี่ยมรูปว่าว

นางสาวพรสุดา พลายทิพย์ 5411103016

การสร้างรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า

นางสาวพรสุดา พลายทิพย์ 5411103016

การสร้างรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส

นางสาวพรสุดา พลายทิพย์ 5411103016

การสร้างรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว

นางสาวพรสุดา พลายทิพย์ 5411103016

การสร้างรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก

นางสาวพรสุดา พลายทิพย์ 5411103016

การสร้างรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า

นางสาวพรสุดา พลายทิพย์ 5411103016

การสร้างรูปวงกลม

นางสาวพรสุดา พลายทิพย์ 5411103016

"หน่วยกิต"

"หน่วยกิต" 

เป็นการให้ค่าน้ำหนักแก่รายวิชาต่างๆ
        -การศึกษาภาคทฤษฎีที่ใช้เวลาบรรยายหรืออภิปรายปัญหา 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ หรือไม่น้อยกว่า 15 ชั่วโมง ตลอดหนึ่งภาคการศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิต
        -การศึกษาภาคปฏิบัติที่ใช้เวลาฝึกทดลอง 2 หรือ 3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ หรือตั้งแต่ 30 ถึง 45 ชั่วโมงตลอดหนึ่งภาคการศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิต
            -การฝึกงานหรือฝึกภาคสนาม ที่ใช้เวลาฝึก ถึง ชั่วโมงต่อสัปดาห์หรือตั้งแต่ 45 ถึง 90 ชั่วโมงตลอดหนึ่งภาคการศึกษาปกติ ให้มีค่า     เท่ากับ หน่วยกิต

มาตราส่วนและอัตราส่วน

             มาตราส่วน

             มาตราส่วน ( SCALE ) หมายถึง อัตราที่ใช้ย่อหรือขยายส่วน
การเขียนแบบโดยทั่วไป ภาพที่เขียนแบบจะมีขนาดที่สัมพันธ์พอเหมาะกับขนาดกระดาษเขียนแบบเสมอ เมื่อมองภาพแล้วเห็นรายละเอียดได้ชัดเจนสมบูรณ์ ฉะนั้นการเลือกใช้มาตราส่วนที่เหมาะสมกับขนาดกระดาษเขียนแบบ ผู้เขียนแบบจึงต้องควรคำนึงถึงมาก
มาตราส่วน แบ่งออกเป็น 3 ชนิด
1. มาตราส่วนย่อ ( BRIEF SCALE ) เช่น 1 : 10 อ่านว่า หนึ่งต่อสอบ หมายถึง ของจริง 10 ส่วน เขียนลงในกระดาษเขียนแบบ 1ส่วน
2. มาตราส่วนขยาย ( EXTENDED SCALE ) เช่น 10 : 1 อ่านว่า สิบต่อหนึ่ง หมายถึง ของจริง 1 ส่วน เขียนลงในกระดาษเขียนแบบ 10 ส่วน
3. มาตราส่วนเท่าของจริง ( FULL SCALE ) เช่น 1 : 1 อ่านว่า หนึ่งต่อหนึ่ง หมายถึง ของจริง 1 ส่วน เขียนลงในกระดาษเขียนแบบ 1 ส่วน
สำหรับมุมต่าง ๆ ที่มีอยู่ในแบไม่ว่าจะเป็นมุมตรงไหนก็ตาม จะไม่มีผลต่อการใช้มาตราส่วน กล่าวคือมุมไม่ต้องทำการย่อหรือขยายแต่ประการใด เช่น มุม 60 ไม่ว่าจะใช้มาตราส่วนย่อหรือมาตราส่วนขยาย มุม 60 ก็ยังเป็นมุม 60 อย่างเดิมไม่เปลี่ยนแปลง
                สำหรับการเขียนค่าของตัวเลขบอกขนาด ก็เช่นเดียวกันกับมุมต่าง ๆ ไม่ว่าจะใช้มาตราส่วนย่อหรือขยายก็ตาม การกำหนดขนาดจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงไปด้วย เช่น ขนาดความยาวของวัตถุ 15 เซนติเมตร มาตราส่วนไม่ว่าจะย่อหรือขยาย การเขียนตัวเลขบอกขนาดก็เขียน 15 เซนติเมตรเท่าเดิม

                อัตราส่วน 


                หมายถึง การเปรียบเทียบปริมาณสองปริมาณ ซึ่งอาจมี หน่วยเดียวกันหรือหน่วยต่างกันก็ได้ อัตราส่วนของปริมาณ aต่อปริมาณ เขียนแทนด้วย a : b หรือ เรียก ว่าจำนวนแรกหรือจำนวนที่หนึ่งของอัตราส่วน และเรียกว่าจำนวน

               ในการเขียนอัตราส่วน อัตราส่วนที่แสดงการเปรียบเทียบปริมาณสอง ปริมาณที่มีหน่วยเดียวกันและมีความชัดเจนว่าเป็นหน่วยของสิ่งใด เช่น น้ำหนัก หรือ ปริมาตร เราไม่นิยมเขียนหน่วยกำกับไว้ เช่น อัตราส่วนของน้ำหนักหญ้าสดต่อน้ำหนักมูลไก่ เป็น 50 : 5 หรือ อัตราส่วนของปริมาณหญ้าสดต่อปริมาณมูลไก่โดยน้ำหนักเป็น 50 : 5 ถ้าเป็นอัตราส่วนที่แสดงการเปรียบเทียบปริมาณสองปริมาณที่มีหน่วยต่างกัน เราจะเขียนหน่วยกำกับไว้ เช่น อัตราส่วนของจำนวนไข่เป็นฟองต่อราคาเป็นบาท เป็น 10 : 22

วันอาทิตย์ที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2557

การเขียนกระดานดำเลขไทยและอินดูอาราบิก



การเขียนกระดานดำตัวเลขไทยและเลขฮินดูฮารบิก 
นางสาวพรสุดา พลายทิพย์ 5411103016